kam

kam
นางสาว จารุวรรณ เชี่ยวชล

วันอังคารที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Studies on CALL in the Thai Context

Studies on CALL in the Thai Context
The rapid technological advances of the 1980s have raised both the expectations and the demands placed on the computer as a potential learning tool. With the hope to improve Thai learners’ English proficiency, previous research on CALL was mostly designed to show comparisons of learning outcomes from a control group with those obtained from an experimental group (e.g., Intratat, 2007,2009; Maneekul, 1996; Phongnapharuk, 2007; Thongtua, 2008). These studies conducted in the Thai context have congruently emphasized the importance of CALL and teaching English in four macro skills.
  Maneekul(1996), for example, tired to determine the effects of normal instruction supplemented by the computer-assisted instruction program and only giving lecture on achievement and attitude scores of Thai vocation students. The study showed that that normal   instruction supplemented by CALL improved achievement and attitude scores.
Similar to Intratat’s (2007) study, her study focused the importance of using CALL in classroom practice. Using self-created questionnaires with 167 Thai university students and 70 lectures asking about English CALL materials, the results reflected that the participants appreciate most the advantages of using CALL materials, particularly freedom in studying. However, some problems in using CALL had arisen.
For students, time consumed loading the program was the largest problem, while the development of CALL programs was seen to be the greatest disadvantage of CALL in the lectures’ view. The result seemed to suggest certain advantages of CALL. Education administrators should support the use and development of CALL for learner autonomy and life-long learning.
Then , Wong-a-sa (2010) employed questionnaire and observation techniques to investigate the effectiveness of using supplementary task-incorporated learning activities in CALL courseware and a set of classroom activities, students’ interaction and participation greatly increased. Furthermore, it was found that students’ positive learning attitude towards CALL programs was shown. In this regard, Wong-a-sa’s suggestion is that, to promote classroom interaction and learning motivation, the designed CALL courseware should be seen a suitable teaching material.


 การเรียนโดยอาศัยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการเรียนภาษาในบริบทของไทย

  ความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเกี่ยวกับเทคโนโลยีในปี  1980  โดยมีการสร้างทั้งสิ่งที่คาดหวังและสิ่งที่ต้องการไว้บนคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ด้วยความหวังที่จะปรับปรุงความชำนาญ  ความคล่องแคล่วในการใช้ภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยให้ดีขึ้น  งานวิจัยในเรื่อง CALL โดยส่วนใหญ่ได้ถูกคิดค้นเพื่อแสดงการเปรียบเทียบเกี่ยวกับผลการเรียนโดยการจัดแบ่งเป็นกลุ่มๆซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นผลมาจากการทดลองทางวิทยาศาสตร์(e.g., Intratat,  2007,  2009;  Maneekul,  1996;  Phongnapharuk,  2007;  Thongtua,  2008)

 การเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาเหล่านี้ในสิ่งแวดล้อมของไทยนั้น มีความสอดคล้องกันโดยเน้นความสำคัญของ CALL และการสอนภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะ

  Maneekul (1996) ได้ยกตัวอย่างของความพยายามในการค้นหาผลของการมีสิ่งที่เพิ่มเติมในการสอนแบบปกติ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เพื่อทำให้การสอนได้ผลดีที่สุด รวมถึงทัศนคติในส่วนของคะแนนผลการสอบของนักเรียนไทยก็ดีไปด้วย  การศึกษาแสดงให้เห็นว่าสิ่งที่เพิ่มเติมเข้ามาในการสอนแบบปกติ
 โดยใช้CALL ช่วยในการปรับปรุงความสำเร็จและทัศนคติคะแนนผลการสอบ เช่นเดียวกันกับการศึกษาของ Intratat (2007) ซึ่งการศึกษาของเธอนั้นให้ความสนใจตรงที่ความสำคัญของการใช้ CALL ฝึกปฏิบัติในห้องเรียน  การใช้แบบสอบถามที่ถูกสร้างขึ้น โดยใช้กับนักศึกษาไทยจำนวน 167 คนและอาจารย์ จำนวน 70 คน โดยสอบถามเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษา ผลลัพธ์ที่ได้สะท้อนให้เห็นถึง ผู้ตอบแบบสอบถามชื่นชมเกี่ยวกับประโยชน์ของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษา โดยเฉพาะมันช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่มีอิสรภาพ แต่อย่างไรก็ตาม มีบางปัญหาเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษาเกิดขึ้น เช่น เวลาที่ใช้ในการโหลดโปรแกรม

จะเป็นปัญหาใหญ่สำหรับนักเรียน ในขณะที่อาจารย์ก็มองเห็นว่า การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษานั้น เป็นข้อเสียเปรียบที่สุดสำหรับพวกเขา แต่ผลสำรวจบางอย่างยังคงชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ของการใช้โปรแกรมนี้ ดังนั้นผู้บริหารการศึกษาควรจะสนับสนุนการใช้และการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษา เพื่อการเรียนรู้อย่างมีอิสรภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้เรียน. Wong-a-sa(2010) เคยใช้แบบสอบถามและการสังเกตเทคนิควิธีการ เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของภาระงานที่อยู่รวมกันประกอบกับกิจกรรมการเรียนรู้ในบทเรียนการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษา  ผลของการสำรวจนี้แสดงให้เห็นถึงการแก้ไขภาระงานที่อยู่รวมกันในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษาและจัดกิจกรรมในชั้นเรียนได้ มันทำให้ปฏิสัมพันธ์และความร่วมมือของนักเรียนก็เพิ่มขึ้นมาก
นอกจากนี้พบว่านักเรียนได้มีทัศนคติในเชิงบวกต่อการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษา ในการพิจารณาครั้งนี้ ข้อเสนอแนะของ Wong-a-sa นั้นได้ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียนและแรงจูงใจในการเรียนรู้ ดังนั้นการสร้างบทเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษาควรจะเป็นอุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับการสอน

Questions

1. Why do  we use CALL in the classroom?
2. What’s the problem of CALL program for student?  
3. Do you think, what happen when teachers use  CALL in the classroom?


 


 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น