kam

kam
นางสาว จารุวรรณ เชี่ยวชล

วันอังคารที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Studies on CALL in the Thai Context

Studies on CALL in the Thai Context
The rapid technological advances of the 1980s have raised both the expectations and the demands placed on the computer as a potential learning tool. With the hope to improve Thai learners’ English proficiency, previous research on CALL was mostly designed to show comparisons of learning outcomes from a control group with those obtained from an experimental group (e.g., Intratat, 2007,2009; Maneekul, 1996; Phongnapharuk, 2007; Thongtua, 2008). These studies conducted in the Thai context have congruently emphasized the importance of CALL and teaching English in four macro skills.
  Maneekul(1996), for example, tired to determine the effects of normal instruction supplemented by the computer-assisted instruction program and only giving lecture on achievement and attitude scores of Thai vocation students. The study showed that that normal   instruction supplemented by CALL improved achievement and attitude scores.
Similar to Intratat’s (2007) study, her study focused the importance of using CALL in classroom practice. Using self-created questionnaires with 167 Thai university students and 70 lectures asking about English CALL materials, the results reflected that the participants appreciate most the advantages of using CALL materials, particularly freedom in studying. However, some problems in using CALL had arisen.
For students, time consumed loading the program was the largest problem, while the development of CALL programs was seen to be the greatest disadvantage of CALL in the lectures’ view. The result seemed to suggest certain advantages of CALL. Education administrators should support the use and development of CALL for learner autonomy and life-long learning.
Then , Wong-a-sa (2010) employed questionnaire and observation techniques to investigate the effectiveness of using supplementary task-incorporated learning activities in CALL courseware and a set of classroom activities, students’ interaction and participation greatly increased. Furthermore, it was found that students’ positive learning attitude towards CALL programs was shown. In this regard, Wong-a-sa’s suggestion is that, to promote classroom interaction and learning motivation, the designed CALL courseware should be seen a suitable teaching material.


 การเรียนโดยอาศัยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการเรียนภาษาในบริบทของไทย

  ความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเกี่ยวกับเทคโนโลยีในปี  1980  โดยมีการสร้างทั้งสิ่งที่คาดหวังและสิ่งที่ต้องการไว้บนคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ด้วยความหวังที่จะปรับปรุงความชำนาญ  ความคล่องแคล่วในการใช้ภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยให้ดีขึ้น  งานวิจัยในเรื่อง CALL โดยส่วนใหญ่ได้ถูกคิดค้นเพื่อแสดงการเปรียบเทียบเกี่ยวกับผลการเรียนโดยการจัดแบ่งเป็นกลุ่มๆซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นผลมาจากการทดลองทางวิทยาศาสตร์(e.g., Intratat,  2007,  2009;  Maneekul,  1996;  Phongnapharuk,  2007;  Thongtua,  2008)

 การเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาเหล่านี้ในสิ่งแวดล้อมของไทยนั้น มีความสอดคล้องกันโดยเน้นความสำคัญของ CALL และการสอนภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะ

  Maneekul (1996) ได้ยกตัวอย่างของความพยายามในการค้นหาผลของการมีสิ่งที่เพิ่มเติมในการสอนแบบปกติ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เพื่อทำให้การสอนได้ผลดีที่สุด รวมถึงทัศนคติในส่วนของคะแนนผลการสอบของนักเรียนไทยก็ดีไปด้วย  การศึกษาแสดงให้เห็นว่าสิ่งที่เพิ่มเติมเข้ามาในการสอนแบบปกติ
 โดยใช้CALL ช่วยในการปรับปรุงความสำเร็จและทัศนคติคะแนนผลการสอบ เช่นเดียวกันกับการศึกษาของ Intratat (2007) ซึ่งการศึกษาของเธอนั้นให้ความสนใจตรงที่ความสำคัญของการใช้ CALL ฝึกปฏิบัติในห้องเรียน  การใช้แบบสอบถามที่ถูกสร้างขึ้น โดยใช้กับนักศึกษาไทยจำนวน 167 คนและอาจารย์ จำนวน 70 คน โดยสอบถามเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษา ผลลัพธ์ที่ได้สะท้อนให้เห็นถึง ผู้ตอบแบบสอบถามชื่นชมเกี่ยวกับประโยชน์ของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษา โดยเฉพาะมันช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่มีอิสรภาพ แต่อย่างไรก็ตาม มีบางปัญหาเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษาเกิดขึ้น เช่น เวลาที่ใช้ในการโหลดโปรแกรม

จะเป็นปัญหาใหญ่สำหรับนักเรียน ในขณะที่อาจารย์ก็มองเห็นว่า การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษานั้น เป็นข้อเสียเปรียบที่สุดสำหรับพวกเขา แต่ผลสำรวจบางอย่างยังคงชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ของการใช้โปรแกรมนี้ ดังนั้นผู้บริหารการศึกษาควรจะสนับสนุนการใช้และการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษา เพื่อการเรียนรู้อย่างมีอิสรภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้เรียน. Wong-a-sa(2010) เคยใช้แบบสอบถามและการสังเกตเทคนิควิธีการ เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของภาระงานที่อยู่รวมกันประกอบกับกิจกรรมการเรียนรู้ในบทเรียนการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษา  ผลของการสำรวจนี้แสดงให้เห็นถึงการแก้ไขภาระงานที่อยู่รวมกันในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษาและจัดกิจกรรมในชั้นเรียนได้ มันทำให้ปฏิสัมพันธ์และความร่วมมือของนักเรียนก็เพิ่มขึ้นมาก
นอกจากนี้พบว่านักเรียนได้มีทัศนคติในเชิงบวกต่อการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษา ในการพิจารณาครั้งนี้ ข้อเสนอแนะของ Wong-a-sa นั้นได้ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียนและแรงจูงใจในการเรียนรู้ ดังนั้นการสร้างบทเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษาควรจะเป็นอุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับการสอน

Questions

1. Why do  we use CALL in the classroom?
2. What’s the problem of CALL program for student?  
3. Do you think, what happen when teachers use  CALL in the classroom?


 


 

Technology from

Technology from the Point of View of Constructivism
          PBL offers a specific type of learning in which learner are expected to use technology in meaningful ways to help them investigate, learn or present their knowledge (Blumenfeld, 1991). Technology can be used to create such environments and facilitate the activities within them. By thinking of technology as a valuable tool in a constructivist learning environment, teachers have the power to teach not only the technical skills but also to help learner create knowledge (Gonzalez et al., 2006, p.305).  
In PBL class, application of technology facilitates acquisition and learning the language. As stated earlier learners benefit from a comfortable environment in which computers are great help to them to improve their English. They can be independent learners and be on their own by doing the exercises themselves.
Kearsley and Shneiderman (1999) define engage learning as a situation in which learners are active in their learning and student activities involve active cognitive processes. With regard to this definition and constructivism theory, learning is more effective when learners are engaged in their learning process. Since CALL systems provide such environment for the learners to apply technology in order to learn and improve their language, it is assumed that such computer-based systems are helpful to learners and enhance their language skills.
         
          Vygotsky (1978) in his social constructivism provides a foundation for argumentative, reflective and collaborative activities in technology enhanced learning environments (Blake and Scanlon,2008). With regard to this, it is expected that learners will be able to undertake responsibilities for their own learning, be active in their courses and construct knowledge meaningfully. Moreover, the learners are provided with the opportunities to construct knowledge by interpreting and analyzing in computerized learning environments. Most of the information and communications technologies. The use of computers is the most well know and popular tool in educational context compared with all other kinds of technologies. In contemporary teaching and learning education, computer-assisted instruction takes an important role
(
Chang, 2001).
           PBL เป็นการเรียนแบบเฉพาะเจาะจงซึ่งผู้เรียนคาดหวังว่าจะได้ใช้เทคโนโลยี เพื่อช่วยพวกเขาในการเรียน เทคโนโลยีสามารถใช้เพื่อสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมและก่อให้เกิดความสะดวกในการดำเนินกิจกรรม เมื่อเราคิดถึงเทคโนโลยีจะนึกได้ว่ามันเป็นเครื่องมือที่มีคุณค่าที่ใช้ในการเรียนรู้ ครูจะสามารถสอนไม่เฉพาะวิชาเฉพาะสาขาแต่รวมไปถึงช่วยให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ความรู้ได้ในห้องเรียน PBL การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทำให้ได้มาซึ่งความสะดวกขึ้นในการเรียนรู้ภาษา ในผู้เรียนที่พึ่งเริ่มต้นจะได้ประโยชน์จากความสะดวกสบายนี้คือ จะเป็นตัวช่วยที่ดีในการปรับปรุงภาษาอังกฤษของพวกเขา พวกเขามารถเป็นผู้เรียนที่สมบูรณ์แบบ และสารถทำแบบฝึกหัดได้ด้วยตัวเองKearsley และ Shneiderman ให้คำนิยามการเรียนแบบมีส่วนร่วมว่าเป็นเหตุการณ์ที่ผู้เรียนปฏิบัติในการเรียนรู้ของพวกเขาและกิจกรรมของนักเรียนมีผลต่อกระบวนการเรียนรู้ การเอาใจใส่ต่อทฤษฎีนี้ การเรียนรู้มีผลมากขึ้นเมื่อผู้เรียนสนใจในกระบวนการเรียนรู้ของพวกเขา เนื่องจากระบบ CALL จัดหาสภาพแวดล้อมเพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และปรับปรุงภาษาของพวกเขา สันนิษฐานได้ว่าระบบพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนและช่วยยกระดับทักษะทางภาษาของพวกเขา
        Vygotsky ในการเตรียมการเรียนรู้ทางสังคมของเขามีพื้นฐานเพื่อให้เกิดการถกเถียงได้ การสะท้อนกลับและความร่วมมือในกิจกรรมเกี่ยวกับเทคโนโลยีจะช่วยยกระดับสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้
         Blake และ Scanlon การให้ความสนใจในสิ่งนี้เป็นความหวังว่าผู้เรียนจะสามารถดำเนินการเพื่อการเรียนรู้ของพวกเขา ให้พวกเขาปฏิบัติตามหลักสูตรและสร้างความรู้อย่างมีความหมาย ยิ่งไปกว่านั้นผู้เรียนจะมีโอกาสสร้างความรู้โดยการตีความและวิเคราะห์ในขณะที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนรู้ การวิจัยเมื่อเร็วๆนี้การปฏิบัติในภาคการศึกษา พิจารณาถึงข้อมูลสำคัญและเทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสาร การใช้คอมพิวเตอร์เป็นที่รู้จักกันดีเป็นจำนวนมากและเป็นเครื่องมือที่เป็นที่นิยมที่ใช้ในการเรียนการสอน ในการเรียนการสอนสมัยใหม่คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทสำคัญมากขึ้น
gy from the Point of View of Constructivism echnology from
the Point of View of Constructivism

Computer Assisted Language Learnin


Computer Assisted Language Learning (CALL)and English Language

Teaching in ThailandAdvantages & Disadvantages ofCALL in Language Learning


ในแง่ของการสอนภาษาเชื่อกันว่า CALL จะเป็นตัวช่วยที่ทำให้เอาชนะข้อจำกัดที่ขัดขวางการเรียนรู้และการสอนภาษาได้เป็นอย่างดี    (Barson & Debski, 1996; Chapelle, 1997; 2003; Salaberry, 1999; Warschauer, 1996; 1997; 2002; 2004; Warschauer & Healey, 1998; Warschauer & Kern, 2005; Yang, 2008). การศึกษาเหล่านี้ดูเหมือนจะเป็นผลสอดคล้องกับแรงจูงใจและความพยายามของการใช้ CALL ในการสอนภาษาโดยการกระทำของผู้เรียน   ในทางเดียวกันนี้การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเรียนภาษาหรือCALL ได้แบ่งเครื่องมือสำคัญในการเรียนภาษาออกเป็นหลายเหตุผลด้วยกัน

ประการแรก, การใช้งาน CALL เพื่อช่วยในการเรียนภาษาได้จัดเตรียมข้อมูลที่น่าเชื่อถือให้กับนักเรียน 

  ในขณะนี้นักเรียนมีโอกาสมีปฏิบัติทักษะสำคัญในการเรียนภาษาอย่างน้อยหนึ่งทักษะหรือมากกว่านั้น อันได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เพราะว่านักเรียนต้องใช้หรือออกเสียงข้อความที่เป็นภาษาเป้าหมายเพื่อสื่อความหมายแก่ผู้ฟังที่ไม่เฉพาะใช้แต่ในห้องเรียนเท่านั้น(Garrett, 1982).

ครูสามารถใช้ CALL เพื่อจัดการเข้าถึงที่ง่ายและรวดเร็วต่อแหล่งข้อมูลในการเรียนภาษาที่หลากหลายและส่วนประกอบมัลติมีเดียของข้อมูลที่สร้างสรรค์และน่าเชื่อถือที่ครูไม่สามารถนำเสนอให้โดยปราศจากเครื่องช่วยเหลือที่เพิ่มเติมมา

  กิจกรรม ดังเช่น การแก้ไขปัญหา (problem-solving), information gap, เกมส์เกี่ยวกับภาษา, กราฟฟิกเสมือนจริง ได้สร้างขึ้นจาก CALL ที่ครูได้ให้นักเรียนฝึกหัดโดยใช้ภาษาเป้าหมาย  ด้วยชิ้นงานของจริงนี้ทำให้นักเรียนต้องมีปฏิกิริยากับบริบทของภาษาที่มีใช้อยู่จริง และตัดสินใจหาข้อยุติความหมายของภาษาเป้าหมายอย่างกระตือรือร้น
 
อันเนื่องมาจาก, Skinner & Austin (1999) กล่าวว่าความสนใจ แรงจูงใจ และความมั่นใจของนักเรียนจะได้รับการส่งเสริม  ในทางตรงกันข้าม Warschauer (2004) อ้างว่าประการหนึ่งที่บอกถึงประโยชน์ในการเพิ่มแรงจูงใจคือการที่นักเรียนใช้เวลากับชิ้นงานมากขึ้นขณะที่พวกเขากำลังใช้คอมพิวเตอร์อยู่

ในประการที่สอง Swain และ Lapkin ได้ให้ความหมายกับการสื่อสารแบบไม่ต่อเนื่องกันหรือ CMC ที่มีส่วนช่วยผู้เรียนภาษา นั่นก็คือ ปฏิสัมพันธ์ ที่ได้มีระหว่างผู้เรียน เพื่อผลตอบรับของการใช้ภาษาของพวกเขา

และสร้างเอ๊าท์พุตต์ที่สามารถเปลี่ยนมาเป็นอินพุตต์สำหรับผู้เรียนในสาขาอื่น ๆ (Egbert, 2004) ได้ให้ข้อเท็จจริงที่นักเรียนไทยที่มีพื้นฐานพฤติกรรมขี้อาย   นักเรียนไทยได้รับการผลักดันให้สื่อภาษาผ่าน CALL และสามารถนำไปใช้ในชั้นเรียน เพื่อความสะดวกในระดับหนึ่ง  ซึ่งผลที่ตามมา

ผู้ใช้ CALL  มีพื้นฐานในการพัฒนาแนวความคิดของตัวผู้เรียน  และทักษะพื้นฐานในการใช้ภาษา นอกจากนั้นการเรียนรู้โดยรวมได้เกิดทักษะในกระบวนการเรียนรู้ การคิด ของผู้เรียนและมีความมั่นใจในการเรียนรู้ด้วยตัวเอง

ประการที่สาม
ผู้เรียนภาษามีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน ห้องเรียนหรือ ครูอาจจะไม่สามารถที่จะมีแนวทางในการตอบสนองวัตถุประสงค์เหล่านั้น  CALL ผู้เรียนสามารถเรียนอย่างกว้างขวางด้วยข้อมูลต่างๆ และส่งเสริมตามที่พวกเขาต้องการ เพื่อให้งานแต่ละคนเกิดความสมบูรณ์ และตอบสนองความต่อความหลากหลายของผู้เรียน แม้แต่มีห้องเรียนเดียวก็ตาม
Ahmad et al. (1985, p. 116) ได้ยืนยันว่าคอมพิวเตอร์นั้นสามารถที่จะให้ความสนใจแก่ผู้เรียน คนที่ต้องการแก้ไขหรือเพิ่มความสามารถ และยกระดับความคล่องแคล่วของเขา และเพื่อเลือกกิจกรรม หรืองานที่เหมาะสมต่อรูปแบบการเรียนรู้ของแต่ละคน ยิ่งไปกว่านั้น,พวกเขาสามารถที่จะเรียนซ้ำ ทวนซ้ำบทเรียนของเขาได้ทุกที่ ทุกเวลาเพื่อพวกเขาต้องการที่จะเข้าใจบทเรียนทั้งหมดอย่างถี่ถ้วน

from the Point of View


from the Point of View of Construction
เทคโนโลยีจากแนวความคิดของทฤษฏีสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง(Constructionism)
 เชื่อกันว่ายิ่งนักเรียนมีส่วนร่วมในบทเรียนมากเท่าไหร่ พวกเขาก็จะแสดงออกมาได้ดียิ่งขึ้น พวกเขาก็จะได้ประโยชน์จากการเรียนรู้ด้วยตนเองและเพิ่มปฏิสัมพันธ์ เวลาว่างในการเรียนรู้
-ทฤษฏีสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองมีแนวความคิดที่แตกต่างกันเป็นสองฝ่าย กล่าวคือ ด้านการเรียนรู้พุทธิปัญญาและการสร้างความรู้เชิงสังคมนิยม
-ทฤษฏีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม อ้างว่าการเรียนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง  นักเรียนไม่เป็นเพียงแต่ผู้รับอย่างเดียว แต่ต้องเป็นผู้สร้างความรู้เป็นของตนเองหลังจากที่ได้รับข้อมูลมาแล้วด้วย
-ทฤษฏีสร้างความรู้นิยมเชิงสังคมนิยม อ้างถึงการช่วยเหลือกันในหมู่นักเรียน กล่าวคือให้นักเรียนที่เก่งกว่าช่วยนักเรียนคนอื่นๆ ที่อ่อนกว่าทำความเข้าในแนวความคิดและหลักการของบทเรียน(Vygotsky, 1986).
ในบรรยากาศการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเองนั้น นักเรียนจะเป็นศูนย์กลางในกระบวนการเรียนรู้ ครูเป็นเพียงแต่ผู้จัดเตรียมหรืออำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่น่าสนโดยการนำเสนอประสบการณ์จริงแก่นักเรียน จึงเป็นการทำให้นักเรียนสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้แก่กิจกรรม การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ด้วยตนเองและการสืบหาความรู้ การอภิปราย การร่วมมือกัน และการเจรจาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
PBL เป็นรากฐานของการสอน (แบบคอนสตรัคติวิสต์) ที่ให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนในกระบวนการเรียนรู้เชิงลึกโดยมีคำถามที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของ
บทเรียน  ในการสอนจะใช้ปัญหาที่ซับซ้อนที่ต้องการให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ในการตรวจสอบเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
( Barron  et  al., 1998 )
โครงสร้างของ PBL มุ่งเน้นในด้านการให้ความร่วมมือและการทำงานร่วมกันระหว่างทีมงานซึ่งมีความแตกต่างในการดำเนินกิจกรรม และ PBL ยังอาศัยการเรียนแบบกลุ่มที่ผู้เรียนจะต้องรับผิดชอบอย่างเต็มที่สำหรับการเรียนรู้โดยตัวผู้เรียนเอง ( Barron  et  al., 1998 )